Industry Code · Offshore Structure · Random Vibration

Method of Extreme Storm Analysis


Method of Extreme Storm Analysis K.Kurojjanawong 29-Nov-2017 รูปนี้อธิบายชัดเจนว่าเราทำ Inplace Strength Analysis ได้กี่แบบ โดยเค้าแยกย่อยเป็น 2 วิธีใหญ่ๆ คือ “Two Stage Deterministic Storm Analysis” และ “One Stage Stochastic Storm Analysis” เนื่องจากคลื่นในทะเลมันเป็น Random Vibration หรือ ใครจะเรียกว่า Stochastic Dynamic ก็ได้ ถ้าเทียบกับงานบนฝั่งมันก็คือ Earthquake นั่นหล่ะ เพราะ เป็น Random Vibration เหมือนกัน แต่คลื่นในทะเลเป็น Random Vibration แบบ Stationary (ถ้าตัดมาช่วงสั้นๆ จะมีค่าทางสถิติคงที่) ในขณะที่ Earthquake เป็น Random Vibration… Continue reading Method of Extreme Storm Analysis

Ocean Wave · Offshore Structure · Random Vibration · Statistics

Extreme Values of Spectral Response


Extreme Values of Spectral Response K.Kurojjanawong 4-Jan-2017 หลังจากเกริ่นเรื่อง Gaussian Process Random Vibration ไปหลายครั้ง วันนี้จะมาลงรายระเอียดเรื่อง คุณสมบัติเฉพาะตัวของไอ้ Random Vibration ชนิดนี้ โดยจะกล่าวถึง เฉพาะ Gaussian Process Random Vibration แบบ ย่อย ลงไปอีก คือ Narrow Band Process ใครไม่เข้าใจ ลองไปหาโพส เก่าๆ ของ ผม เรื่อง Narrow กับ Broad Brand Random Process มาอ่านดูก่อน สมมติฐานสำคัญที่เราใช้ในงาน offshore structure design (เอาเฉพาะ Fixed Template Platform นะ เพราะชนิดอื่น อาจจะไม่ได้ตั้ง… Continue reading Extreme Values of Spectral Response

Ocean Wave · Oceanography · Offshore Structure · Random Vibration

Gaussian Process Random Vibration


Gaussian Process Random Vibration K.Kurojjanawong 23-Dec-2016 ชื่อก็ตรงตัว คือ เป็น Random Vibration ที่มีการกระจายแบบ Gaussian Process หรือเรียกภาษาบ้านๆ ก็คือ มีการ แจกแจงแบบ ปกติ หรือ Normal Distribution นั่นล่ะ คือถ้าเราเอาจุดบน Wave Profile มาทำการแจกแจงเราจะพบว่ามันมีการแจกแจงแบบ ปกติ แล้วมันสำคัญยังไง ??? มันสำคัญมากครับ เพราะมันคือ backbone ของแทบทุกทฤษฏีที่เราใช้เกี่ยวกับคลื่นในงาน offshore อยุ่บนพื้นฐานหลักที่ว่า คลื่นในทะเลเป็น “Gaussian Process Random Vibration” ซึ่งทำให้เมื่อเอา Surface wave profile มาแจกแจงมันจะมีการกระจายแบบ Normal Distribution ซึ่งต้องมี Mean เป็น ศูนย์ ทำให้เราสามารถใช้สมมติฐานต่อๆ มาได้ เข่น… Continue reading Gaussian Process Random Vibration

Ocean Wave · Offshore Structure · Random Vibration · Statistics

Random Wave Surface Generation


Random Wave Surface Generation K.Kurojjanawong 22-Dec-2016 เนื่องจาก ว่าคลื่นในทะเล มันมีพฤติกรรมแบบ Random by nature คือ มันมั่วๆ ไม่มีรูปแบบ ไม่ใช่ sin cos wave แบบที่เราใช้ออกแบบโครงสร้างกันอยู่ทั่วไป งั้น Random Wave ในทะเลเค้าไม่รู้จะอธิบายมันยังไง เค้าเลยอธิบายด้วยหลักสถิติ โดยแทนคลื่น 1 set ในระยะเวลาใดเวลาหนึ่งว่ามีค่าทางสถิติคงที่ หรือที่เคยโพสไปว่า มันเรียกพฤติกรรมแบบนี้ว่า Random wave แบบ Stationary process เนื่องจากมัน Random เค้าเลยใช้ค่าทางสถิติที่เค้าเอามาแทน ก็คือ Hs, Tp โดยสมมติว่า Stationary period อยู่ที่ 3 ชม (เป็นส่วนใหญ่แต่ไม่เสมอไป ผมเข้าใจว่าใน GOM ใช้ 1 ชม งั้นจะเอาข้อมูลไปใช้… Continue reading Random Wave Surface Generation

Offshore Structure · Random Vibration

Ensemble Average VS Stationary Ergodic Process


Ensemble Average VS Stationary Ergodic Process K.Kurojjanawong 13-July-2016 วันนี้มาอธิบายถึง สมมติฐาน สำคัญที่งาน offshore ใช้กันในการวิเคราะห์ Random vibration นั่นก็คือ คลื่นในทะเลมันเป็ Random data แบบ Stationary and Ergodic Process แล้วมันคืออะไรและสำคัญกับงานที่เราทำยังไง ก่อนจะไปถึงตรงนั้น ต้องเข้าใจพื้นฐานของ Random data และ Ensemble average ก่อน เนื่องจากมันเป็น Random data งั้นรูปแบบมันไม่มีความแน่นอนเลย ถ้าเราเก็บข้อมูลมาจำนวนเยอะๆ เช่น วาง ทุ่นลอยๆ ในทะเล แล้ว จดความสูงคลื่นไว้ จะพบว่า มันไม่เหมือนกันเลย ซึ่งแต่ละข้อมูลจะเรียกว่า Realization ถ้ามีข้อมูลจาก 10 ทุ่น ที่อยู่ใกล้ๆ กัน ก็เรียกว่า มี… Continue reading Ensemble Average VS Stationary Ergodic Process

Ocean Wave · Oceanography · Offshore Structure · Statistics

Fundamental Properties of Short Term Wave and Response Statistic


Fundamental Properties of Short Term Wave and Response Statistic K.Kurojjanawong 29-Jun-2016 วันนี้ผมมาแนะนำคุณสมบัติที่สำคัญของ Short Term Wave ซึ่งเราถือว่ามันเป็น Gaussian Process Wave ที่ใช้กันมากในการวิเคราะห์ Random vibration เนื่องจาก wave ในงาน offshore structure หลายๆ คนคงได้ยินมาจนชินล่ะกับคำว่า กระจายแบบ Rayleigh แต่ร้อยละ 80-90 ผมว่าไม่น่าเข้าใจ เนื่องจากโปรแกรมมันทำให้หมด พอไม่เข้าใจ อะไรที่โปรแกรมมันไม่ทำให้ ก็เลย งง และไปต่อไม่ได้ ทั้งที่ข้อมูลหลายอย่างมันก็จ่ออยุ่หน้าประตูล่ะ เหลือแค่เราใข้ความรู้ที่มีมา ยำมันต่ออีกหน่อยในส่วนที่โปรแกรมไม่ทำให้เท่านั้นเอง คุณสมบัติที่สำคัญของ Gaussian Process Wave ก็คือ ตามชื่อ คือมันต้องมีการกระจายแบบ Gaussian หรืออีกชื่อหนึ่งคือ Normal Distribution ถ้าเราดูในรูป… Continue reading Fundamental Properties of Short Term Wave and Response Statistic

Offshore Structure · Random Vibration

Classification of Random Process


Classification of Random Process K.Kurojjanawong 8-June-2016 Random process มี 2 ชนิด ใหญ่ๆ คือ Stationary กับ Non-stationary Random process แบบ stationary ก็คือ สัญญาณ หรือ ในทาง offshore ก็คือ wave surface profile และ response ของโครงสร้างที่เกิดจากมัน ที่มีค่าทางสถิติคงที่ใน ช่วงเวลาหนึ่ง อย่างเช่น 3 ชม Random process แบบ non-stationary ก็คือ สัญญาณ หรือ ในทาง offshore ก็คือ wave surface profile ที่มีค่าทางสถิติไม่คงที่เลย ในทาง offshore ส่วนใหญ่ ก็ตั้งอยู่บนสมมติฐานว่า… Continue reading Classification of Random Process

Offshore Structure · Random Vibration

Dynamic Inertia Derivation from Frequency Domain


Dynamic Inertia Derivation from Frequency Domain K.Kurojjanawong 5-May-2016 ปกติ DAF จะหาโดยใช้ Frequency Domain (FD) หรือ Time Domain (TD) ก็ได้ ถ้า โครงสร้างมัน strongly linear behaviour ค่ามันต้องออกมาใกล้กัน แต่ถ้ามัน Highly nonlinear ตัว FD มันก็ไม่ valid หล่ะ ในแถวเอเชีย โดยเฉพาะกับ Fixed Template structure อย่าง jacket หาน้อยมากที่จะมารันหา DAF ส่วนใหญ่ก็ใส่ SDOF กันเกือบหมด ยกเว้นที่ mass สูงๆ แล้ว คาบเยอะๆ เช่นพวก CPP ก็ต้องทำ ยิ่ง Jack-up… Continue reading Dynamic Inertia Derivation from Frequency Domain

Ocean Wave · Offshore Structure · Random Vibration · Statistics

Extreme Wave Crest OR Extreme Wave Height


Extreme Wave Crest OR Extreme Wave Height K.Kurojjanawong 1-Apr-2016 ช่วงนี้อยู่กับ Metocean, statistic, reliability เยอะ เลยเอาเรื่องนี้มาเล่าให้ฟังเป็น ไอเดีย สำหรับคนที่มีพื้นฐานมาคล้ายๆ กับ ผม คือเริ่มทำงาน offshore จากงานที่อยู่ในอ่าวไทย รวมไปถึงบริเวณแทบ เอเชีย ผมว่าคง งงๆ แทบทุกงาน เวลาออกแบบโครงสร้าง พวก fixed template เค้าก็จะให้ออกแบบเช่น 100 yrs wave เราก็ไปหยิบค่าพวกนี้มาจาก metocean report มันก็จะให้มาว่า 100yrs Extreme Wave Height + Associate Wave Period คือเท่าไร มันก็จะมาเป็น คู่ๆ เช่น H=15m, T=8sec อะไรประมาณนี้ ผมเข้าใจว่า… Continue reading Extreme Wave Crest OR Extreme Wave Height