Building · Industry Code · Modelling Technique · Offshore Structure · SACS · USFOS

2nd Order Effect-Equivalent Node Shear Method


2nd Order Effect-Equivalent Node Shear Method K.Kurojjanawong 21-Jan-2024 Second order effect นั้นแยกออกเป็นสองส่วนใหญ่ๆ คือ Geometrical Nonlinearity และ Material Nonlinearity โดยส่วนแรกคือผลจากการที่ชิ้นส่วนเคลื่อนที่จากจุดตั้งต้นแล้วทำให้เกิด Additional Moment เพิ่มขึ้นมาในชิ้นส่วน ดังนั้นเป็นผลจาก Geometry ทั้งหมด ส่วนที่สองคือผลจากการที่คุณสมบัติของชิ้นส่วนไม่เชิงเส้นหรือไม่เป็นไปตามกฏของฮุค ทำให้ค่า Young modulus (E) ไม่คงที่ และยังมีผลช่วง Elasto-plastic และ Strain Harding เข้ามาด้วย ทั้งสองส่วนทำให้ผลสมมติฐานที่เราใช้ คือทุกอย่างเชิงเส้นไม่เป็นจริง แต่ส่วนของ Material Nonlinearity นั้นเราสามารถที่จะคุมมันได้ โดยบังคับไว้ว่าทุกชิ้นส่วนห้ามเลย Yield ซึ่งก็คือการออกแบบตามมาตรฐานทั่วไป จะทำให้ผลของ Material Nonlinearity นั้นหายไป เพราะไม่เลย Yield คุณสมบัติของวัสดุยังคงเป็นไปตามกฏของฮุคอยู่ เราจึงสามารถตัดผลของ Material… Continue reading 2nd Order Effect-Equivalent Node Shear Method

Offshore Structure · SACS · USFOS

SACS Collapse VS USFOS


SACS Collapse VS USFOS K.Kurojjanawong ผมลองเอา USFOS เป็น benchmark แล้วลอง เอา SACS collapse มาเทียบดู ปรากฏว่า USFOS ได้ global load factor ประมาณ 8.0 ในขณะที่ SACS collapse ได้ 8.4 ถือว่าผลไม่เลวร้ายทีเดียว เพราะอย่าลืมว่านี่คือ Shell Element ไม่ใช่ Beam Element ซึ่งผลของ Beam Element ก็ไม่ต่างกันมาก แต่ Shell element ออกมาใกล้ขนาดนี้ ผมถือว่า เชื่อถือได้ ที่มันไม่เท่า อาจจะเป็นเพราะ ค่า defaults ในตัวโปรแกรมสองตัวที่คงจะไม่เท่ากัน เดี๋ยวต้องหาเวลาจูนให้มันเทียบกันได้ก่อน ถึงจะรู้ว่าผลแต่ละตัวต่างกันขนาดไหน เดี๋ยวผมจะลองรันด้วย Linear Elastic แบบ… Continue reading SACS Collapse VS USFOS

Modelling Technique · Offshore Structure · USFOS

USFOS 8.8 : Repair Eccentricities


USFOS 8.8 : Repair Eccentricities K.Kurojjanawong 2-June-2016 อันนี้ผมถือว่าเป็น Highlight ที่ผมชอบมากที่สุดในเวอร์ชั่น 8.8 แล้วกันจริงๆ ก็มีอีกหลายอย่างที่เพิ่มเข้ามา แต่คงได้ใช้น้อยเทียบกับไอ้นี่ ผมไม่แน่ใจว่ารู้เรื่อง ผลของ joint offset ที่มันติดมาจาก sacs model เวลามันโดน convert มาเป็น usfos กันรึป่าว จริงๆ เรื่องนี้ผมรู้มาสักประมาณ 7-8 ปีที่แล้ว จากพี่ Surachai Chepchareonrat Usfos concept คือมันจะใส่ node เข้าไปให้อยู่ที่ chord surface คือมันถือว่าโมเดลเรายังไม่ offset แต่ปัญหาคือโมเดลเรามัน offset ไปแล้ว งั้น brace มันจะหยุดที่ chord surface แล้ว ในขณะที่ usfos มันพยายามที่จะเพิ่ม node… Continue reading USFOS 8.8 : Repair Eccentricities

Modelling Technique · Offshore Structure · USFOS

USFOS Elastic Unloading


USFOS Elastic Unloading K.Kurojjanawong 5-August-2015 คิดว่าคนรันบ่อยๆ คงจะเจอคำนี้บ่อยๆ คนส่วนมากไม่เข้าใจว่ามันทำอะไรของมันว่ะ ซึ่งตอนผมใช้ใหม่ๆ ผมก็ไม่เข้าใจเหมือนกัน เพราะคิดว่าเรื่องพวกนี้ไม่มีสอนในเมืองไทย หรือ น่าจะอยู่ในวิชา stability of structure หรือ พวก plastic analysis ซึ่งคิดว่า ถึงมีสอน ก็คงไม่ได้เน้นมาทางเรื่องที่เกี่ยวกับที่เราใช้เท่าไร วันนี้ผมมาแนะนำคำว่า Elastic Unloading ถ้าเรามีการ unload บาง load case หรือใช้พวก impact command อย่างเช่น BIMPACT หรือเวลาที่กดแรงเข้าไปเยอะๆ จนมันรับไม่ได้ จนมันต้อง redistributed แรงออกไปที่อื่น เราจะเห็นคำนี้ล่ะ มันคือวิธีที่เค้าสมมติขึ้นว่าเวลามันถูก unload ออกมันเกิดขึ้นแบบ elastically งั้นเวลาคำนวณก็ใช้ elastic beam theory ได้เลย เช่นตัวอย่างข้างล่าง กดแรง Pc ลงไป… Continue reading USFOS Elastic Unloading

Modelling Technique · Offshore Structure · USFOS

Initial Imperfection for Plate\Shell Element in USFOS


Initial Imperfection for Plate\Shell Element in USFOS K.Kurojjanawong 29-June-2015 คิดว่าคงมีไม่กี่คนที่ลงมาเล่น plate\shell element ใน usfos ไม่รู้จะเก็ทกันรึป่าว ว่า initial imperfection มันสำคัญมากทั้งใน nonlinear analysis โดยมันเป็นตัวที่จะ accelerate การ buckled ของ element แล้วก็เป็นตัวกำหนดรูปแบบการ buckled ด้วย งั้นมันสำคัญไม่ว่า เราจะใช้ beam, plate หรือ shell ผมคิดว่าหลายคน คงรู้จักคำสั่ง CINIDEF หรือ ที่มันย่อมาจาก Control Initial DEFormation คำสั่งนี้ใช้ได้ กับ Beam element เท่านั้นนะครับ ต่อให้ใส่เข้าไปก็ไม่มีผลกับ plate\shell element การจะให้ Initial Imperfection… Continue reading Initial Imperfection for Plate\Shell Element in USFOS

Modelling Technique · Offshore Structure · USFOS

How to input 2 materials for pile below mudline in USFOS


How to input 2 materials for pile below mudline in USFOS K.Kurojjanawong 29-June-2015 ถ้าใครเคยใช้ usfos คงจะเข้าใจว่า เข็ม มันถูกสร้างขึ้นโดยโปรแกรม ไม่ใช่เราเป็นคนกำหนดเข้าไปเอง (เราจะใส่เองก็ได้ แต่จะมีปัญหากับ การใช้ foundation nonlinear spring) ซึ่ง คำสั่ง pile มันให้ใส่แค่ top กับ tip node ของเข็ม แล้วก็ material no. ทำให้มันใส่ได้ แค่ material เดียว ทั้งที่บางครั้งในเข็ม มันอาจจะมีหลาย material เช่นที่ ตรง mudline หรือที่ pile tip วิธีแก้ ให้ รันมั่วๆ ไปก่อน 1… Continue reading How to input 2 materials for pile below mudline in USFOS

Modelling Technique · Offshore Structure · USFOS

USFOS Group


USFOS Group K.Kurojjanawong 28-June-2015 วันนี้มาแนะนำ USFOS Group คิดว่าหลายคนใช้งานไม่เป็นทั้งที่มันมีประโยขน์มาก มันคือ Group ใน SACS ที่มาพร้อมกับ ไฟล์ที่ถูกแปลงเป็น UFO format แล้ว ถ้าใช้ SACRED ในการ convert SACS to USFOS มันจะออกมาไฟล์เดียว ซึ่งมีทั้ง geometry และ load อยู่ในไฟล์เดียวกัน แต่ถ้าใช้ struman ในการ convert แล้วไปใส่คำสั่ง loadfile ไว้ ตัว group จะโดนแยกไปอยู่ใน loadfile ผมคิดว่าส่วนใหญ่น่าจะใช้ struman ในการ convert เพราะคิดว่าน่าจะทำตามโน้ตผมที่เขียนไว้ ตั้งแต่เมื่อสัก 8 ปี ที่แล้ว ซึ่งต้องบอกว่า ตอนเขียนโน้ตอันนั้นเป็น beginner มาก สำหรับ… Continue reading USFOS Group